ภาษาจีนสำหรับงานบริการด้านสุขภาพ
ปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ
การเสริมสร้างสุขภาพ และการดูแลให้บริการผู้สูงอายุ แนวคิดร่วมสมัย
การพยาบาลผู้สูงอายุ
การเสริมสร้างความเข้าใจเรื่องการรองรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การจัดกิจกรรมด้านการท่องเที่ยวให้สามารถรองรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
รวมทั้งการนำศักยภาพด้านการท่องเที่ยวสำหรับผู้สูงอายุร่วมกับการผลักดันการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพของนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
ประเทศไทยมีภาพลักษณ์โดเด่นเป็นที่รู้จักทั่วโลก
เอกลักษณ์ด้านการบริการ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเพื่อรองรับผู้สูงอายุ การท่องเที่ยวเชิงการแพทย์
การท่องเที่ยวและการต้อนรับของผู้คน สร้างความประทำใจให้นักเดินทาง การพัฒนาคุณภาพของบุคลากรเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
จำเป็นจ้องมีความรู้
ความเข้าใจและเอาใจใส่พฤติกรรมผู้สูงอายุมากกว่านักท่องเที่ยวเจนเนอเรชั่นอื่น ๆ
การเดินทางท่องเที่ยวของผู้สูงอายุ มีประโยชน์มากมายต่อสุขภาพ
จากวันที่ 12 มกราคม 2567 กระทรวงสาธารณสุขไทยและจีน
มีความร่วมมือทำ MOU ทั้งหมด 10 สาขา หนึ่งในนั้นคือด้านการพัฒนายาและสมุนไพร อนามัยแม่และเด็ก
การแพทย์ผู้สูงอายุ นวัตกรรมการแพทย์ การมาท่องเที่ยวในประเทศไทยของชาวจีน
มีใช่เพียงเดินทางท่องเที่ยว “ธุรกิจสุขภาพ” พร้อมรับนักท่องเที่ยวจีน ตรวจสุขภาพ รักาโรค พบแพทย์ รักษาผู้มีบุตรยาก
ความงาม ชะลอวัย
จากที่ภาครัฐผ่อนคลายเปิดประเทศให้ชาวต่างชาติเข้ามาในประเทศไทย
ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนฟื้นตัวโดยเฉพาะกลุ่มของ Health & Wellness การบริการ
การใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสารต่อผู้รับบริการชาวต่างชาติ ต่างมีความสำคัญไม่แพ้กัน
การสื่อสารระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการมีเป้าหมายที่สำคัญ คือ 1)
แลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพ 2) สร้างความสัมพันธ์ และ 3)
สร้างความเข้าใจทำให้ตัดสินใจร่วมมือในการรักษาและบรรลุความสำเร็จในการดูแลสุขภาพของผู้รับบริการ
และการที่มีจำนวนผู้รับบริการชาวจีนและชาวต่างชาติอื่น ๆ ณ
โรงพยาบาลในประเทศไทยเป็นจำนวนมาก การสอบถามซักประวัติ
ข้อมูลของผู้รับบริการล้วนเป็นสิ่งสำคัญในเนื้อหาที่จะนำเสนอต่อไปนี้
เป็นการใช้ภาษาจีนในการซักประวัติผู้รับบริการ
โดยใช้ภาษาจีนตามบริบทการบริการด้านสุขภาพ
Write a public review